
วันสำคัญของอุตสาหกรรมประกันชีวิต
31 กรกฎาคม วันประกันชีวิตแห่งชาติ
เป็นวันที่กระทรวงพาณิชย์และคมนาคมในสมัยรัชกาลที่ 7
ออกประกาศให้มีการจดทะเบียน
เพื่อประกอบธุรกิจประกันชีวิตและประกันภัยได้เป็นครั้งแรก
เมื่อวันที่ 31 กรกฎาคม 2472
สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.)
สมาคมประกันชีวิตไทยและ
สมาคมตัวแทนประกันชีวิตและที่ปรึกษาการเงิน
จึงได้ร่วมมือกันกำหนดให้วันที่ 31 กรกฎาคมของทุกๆ ปี
เป็นวันประกันชีวิตแห่งชาติ
เพื่อให้เห็นถึงความสำคัญและ
ตระหนักถึงคุณค่าของการทำประกันชีวิต
ที่มา : สำนักงานคณะกรรมการกำกับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจประกันภัย (คปภ.) http://www.oic.or.th/th/education/insurance/about/history

การประกันภัยเริ่มขึ้นในประเทศไทยครั้งแรกในสมัยรัตนโกสินทร์ประมาณปี พ.ศ. 2368 สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่3และในขณะนั้นพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ซึ่งยังทรงผนวชอยู่ ได้ทรงสั่งซื้อเครื่องพิมพ์จากประเทศอังกฤษ และโดยที่เกรงว่าจะเกิดความเสียหายขึ้นในระหว่างทาง จึงได้สั่งให้เอาเครื่องพิมพ์ดังกล่าวประกันภัยระหว่างการขนส่งในนามของพระองค์เอง แสดงว่าการประกันภัยนั้นได้เริ่มแผ่เข้ามาถึงเมืองไทยแล้ว และอาจกล่าวได้ว่าประเทศไทยได้รู้จักวิธีการประกันภัย หรือการประกันภัยทางขนส่งสินค้าของได้เริ่มตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 3

การประกันภัยที่ควรจะนับว่าเกิดขึ้นในประเทศไทยโดยตรงได้เริ่มจากสมัยรัชกาลที่ 4 เป็นต้นมา คือในรัชกาลนี้มีฝรั่งเศสเข้ามาตั้งห้างค้าขายมาก ห้างฝรั่งเศสเหล่านี้ปรากฏว่า บางห้างได้เป็นตัวแทนของบริษัทประกันภัยต่างประเทศด้วย

นับจากที่ประกันเป็นที่รู้จักในเมืองไทยสมัยราว รัชกาลที่ 5 บริษัทต่างประเทศเข้ามาดำเนินกิจการ และตั้งสำนักงานตัวแทนเสนอขายประกันชีวิตแบบตลอดชีพ พร้อมกับมีสมเด็จสมเด็จพระยาบรมมหาศรีสุริยวงศ์ เอกอัคร เสนาบดี เป็นผู้ถือกรมธรรม์เป็นฉบับแรกนั้น อาจเรียกได้ว่าการประกันชีวิตยังไม่เป็นที่นิยมมากนัก แต่หลังจากที่ได้มีการก่อตั้งกองประกันภัย สังกัดกระทรวงพาณิชย์และคมนาคมในปี
พ.ศ. 2472 ธุรกิจประกันชีิตเป็นที่แพร่หลาย มีบริษัทประกันชีวิตต่างชาติเข้ามาประกอบธุรกิจประกันชีวิตเป็นจำนวนมาก ซึ่งต่อมาในปี พ.ศ.2485 เป็นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงมีกลุ่มบุคคลคนไทยได้ก่อตั้งบริษัทประกันชีวิตเป็นครั้งแรก จัดตั้งกฎหมายเกี่ยวกับประกันภัยครั้งแรก คือ ” พระราชบัญญัติลักษณะเข้าหุ้นส่วน และบริษัท ร.ศ. 130″ จัดตั้ง “พระราชบัญญัติควบคุมการค้าขายอันกระทบถึงความปลอดภัยหรือความผาสุก แห่งสาธารณชน” … การประกอบธุรกิจประกันภัย(คปภ.)”

ปัจจุบันมีบริษัทประกันชีวิต 24 บริษัท 3 แนวโน้มธุรกิจประกันภัย
1. จะได้เห็นช่องทางจำหน่ายประ
กันที่ครบครัน
ในอนาคตบริการประกันภัยเน้น
Internet of Thing (IoT) มากขึ้น เก็บข้อมูลจากทุกอย่างที่ใช
้ในชีวิตประจำวันจากGadgetอ
ัจฉริยะที่มีเซ็นเซอร์ เพื่อมาวิเคราะห์การจัดจำหน
่ายประกันที่ใช่ และเหมาะสมกับชีวิตประจำวัน
พร้อมกับเสนอขายได้อย่างทัน
ท่วงที
2. โปรดักซ์ประกันภัยจะเจาะลึก
มากขึ้น
บริษัทประกันจะมีผลิตภัณฑ์ห
ลากหลายเฉพาะเจาะจง สามารถใช้ข้อม
… ดูเพิ่มเติม
Comments